จัดทำโดย คุณครูภาทิพ ศรีสุทธิ์ ห้องเรียนสีชมพู
เสียงในภาษาหมายถึงเสียงที่มนุษย์เปล่งออกมาเพื่อสื่อความหมายสื่อความเข้าใจ ติดต่อสื่อสาร
ในภาษาไทยมีตัวอักษรที่ใช้แทนเสียง ๓ ชนิด ได้แก่ สระ พยัญชนะ และวรรณยุกต์
|
อักษรไทย
อักษรไทย มี 44 ตัว คือ
| อักษรกลาง 9 ตัว | อักษรสูง 11 ตัว | ต่ำคู่ มีเสียงคู่ อักษรสูง 14 ตัว | ต่ำเดี่ยว (ไร้คู่) 10 ตัว | ||||
ก | ข | ฃ | ค | ฅ | 1.ไก่ ก | 1.ผี ผ | 1พ 2 ภ | 1. งู ง |
ฆ | ง | จ | ฉ | ช | 2.จิก จ | 2.ฝาก ฝ | 3 ฟ | 2. ใหญ่ ญ |
ซ | ฌ | ญ | ฎ | ฏ | 3.เด็ก ด | 3-4ถุง ถ ฐ | 4 ฑ 5ฒ 6 ท 7ธ | 3.นอน น |
ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | 4.ตาย ต | 5-6. ข้าว ข ฃ | 8 ค 9 ฅ 10 ฆ | 4. อยู่ ย |
ต | ถ | ท | ธ | น | 5.เด็ก ฎ | 7-9 สาร ศ ษ ส | 11 ซ | 5. ณ |
บ | ป | ผ | ฝ | พ | 6.ตาย ฏ | 10 ให้ ห | 12 ฮ | 6. ริม ร |
ฟ | ภ | ม | ย | ร | 7.บน บ | 11 ฉัน ฉ | 13 ช 14 ฌ | 7. วัด ว |
ล | ว | ศ | ษ | ส | 8.ปาก ป | อักษรสูง กับอักษรต่ำคู่ผันวรรณยุกต์ ร่วมกันจะได้เสียงวรรณยุกต์ครบ 5 เสียง | 8. โม ม | |
ห | ฬ | อ | ฮ | 9.โอ่ง อ | 9. ฬี ฬ | |||
อักษรกลางคำเป็นผันวรรณยุกต์ได้ครบทั้ง 5 เสียง | 10 โลก ล |
พยัญชนะไทย มี ๔๔ รูป ๒๑ เสียง
เสียง | รูป |
๑. ก ๒. ข ๓. ง ๔. จ ๕. ช ๖.ซ ๗.ย ๘.ด ๙.ต ๑๐. ท ๑๑.น ๑๒. บ ๑๓.ป ๑๔.พ ๑๕.ฟ ๑๖. ม ๑๗.ร ๑๘.ล ๑๙.ว ๒๐.ฮ ๒๑.อ | ก ข ค ฅ ฆ ง จ ช ฉ ฌ ซ ศ ษ ส ญ ย ด ฎ ต ฏ ฐ ฑ ฒ ถ ท ธ น ณ บ ป พ ผ ภ ฝ ฟ ม ร ล ฬ ว ฮ ห อ |
หน้าที่ของพยัญชนะ
|
๑. เป็นพยัญชนะต้น | กา เป็น สัตว์ ใกล้สูญพันธ์ ก ป ส กล ส พ เป็นพยัญชนะต้น |
๒. เป็นพยัญชนะท้ายพยางค์(ตัวสะกด) | เกิดเป็นชายหมายรักนี้หนักอก อักษรที่ขีดเส้นใต้เป็นพยัญชนะท้ายพยางค์หรือตัวสะกด |
๓. เป็นอักษรควบ (ควบแท้และ ไม่แท้) | ควบแท้ พลาดพลั้ง ครั้งคราว กราวกรู ครูคลุ้มคลั่ง ขวักไขว่ ควบไม่แท้ เศร้า สร้อย ศรี จริง ที่เรียกว่าควบแท้เพราะออกเสียงอักษรทั้งสองตัวพร้อมกัน ที่เรียกควบไม่แท้เพราะไม่ได้ออกเสียงตัวที่ควบด้วย กล่าวคือ ไม่ได้ออกเสียง ร นั่นเอง |
๔. เป็นอักษรนำ-อักษรตาม | ตลาด ต อักษรกลาง นำ ล อักษรต่ำ ออกเสียงวรรณยุกต์ตาม ต สนาม ส อักษรสูง นำ น อักษรต่ำ ออกเสียงวรรณยุกต์ตาม ส ผลิต ผ อักษรสูงนำ ล อักษรต่ำ ออกเสียงวรรณยุกต์ตาม ผ อย่า อยู่ อย่าง อยาก อ อักษรกลาง นำ ย อักษรต่ำ ออกเสียง วรรณยุกต์ตาม อ หรู หรา ห อักษรสูง นำ ร อักษรต่ำ ออกเสียงวรรณยุกต์ตาม ห หญิง หญ้า ใหญ่ ห อักษรสูง นำ ญอักษรต่ำ ออกเสียง วรรณยุกต์ตาม ห |
๕. เป็นสระ (อ ว ย ร | สรรค์ รร ทำหน้าที่แทนวิสรรชนีย์ หรือสระอะ กวน ว เป็นสระอัวลดรูป เสีย ย เป็นส่วนประกอบของสระเอีย ขอ เสือ มือ อ เป็นสระ และเป็นส่วนหนึ่งของสระ |
๖. เป็นตัวการันต์ | จันทร์ (ทร์ เป็นตัวการันต์ ลักษณ์ ษณ์ เป็นตัวการันต์ ศิลป์ ป์ เป็นตัวการันต์ |
อักษรนำ
|
อักษรควบ
|
ตัวอย่างคำอักษรนำ-อักษรตาม
ขยะขยาดตลาดเสนอ.........ฉลาดเสมอเฉลิมไฉน สนิมสนองฉลองไสว..........เถลไถลหวาดหวั่นแสวง อย่าอยู่อย่างอยากเผยอ..........ตลิ่งตลบเสนอถลอกแถลง จมูกถนัดขยะแขยง...............สวะสวิงหน่ายแหนงขยับขยาย หรูหราหรุบหรับ(สา)หร่าย... สลับสลายเสนาะสนุกสนาน สลิดเสลดสลัดสมาน .. หหวังหลอกเหลนหลานหลากหลาย | ตัวอย่างคำอักษรควบแท้และไม่แท้ กราดเกรี้ยวเกลียวคลื่นคล้าย ปลุกปลอบควายคลายโกรธเกรี้ยว ตรวจตรากล้าจริงเพรียว ขวักไขว่คว่ำกล้ำกลบคลอง ทรายเศร้าเคล้าคลึงศรี ทราบโทรมตรีปลีกล้วยพร่อง ครึ้มครึกตริตรึกตรอง เปล่าพลิกกลองแปรเปลี่ยนแปลง |
รูปสระ
สระในภาษาไทยมี ๒๑ รูป
รูปสระ | ชื่อ | รูปสระ | ชื่อ |
๑.ะ | วิสรรชนีย์ | ๑๒.ใ | ไม้ม้วน |
๒.อั | ไม้หันอากาศ | ๑๓.ไ | ไม้มลาย |
๓.อ็ | ไม้ไต่คู้ | ๑๔.โ | ไม้โอ |
๔.า | ลากข้าง | ๑๕.อ | ตัว ออ |
๕.อิ | พินทุ์อิ | ๑๖.ย | ตัว ยอ |
๖.' | ฝนทอง | ๑๗.ว | ตัว วอ |
๗.อํ | นิคหิตหรือหยาดน้ำค้าง | ๑๘.ฤ | ตัว รึ |
๘." | ฟันหนู | ๑๙.ฤๅ | ตัว รือ |
๙.อุ | ตีนเหยียด | ๒๐.ฦ | ตัว ลึ |
๑๐.อู | ตีนคู้ | ๒๑.ฦๅ | ตัวลือ |
๑๑.เ | ไม้หน้า |
การประสมรูปสระ
สระรูปเดียวได้แก่ ะ อั อ็ า อิ อุ อู เ ใ ไ โ ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ |
สระ ๒ รูปได้แก่ | ||
เสียงสระ | เกิดจาก | รูปสระ |
อี |
เกิดจาก
| พินทุ์อิ + ฝนทอง |
อึ |
เกิดจาก
| พินทุ์อิ + หยาดน้ำค้าง (นฤคหิต) |
อื |
เกิดจาก
| พินทุ์อิ + ฟันหนู |
เ-ะ |
เกิดจาก
| ไม้หน้า + วิสรรชนีย์ |
เอ็- |
เกิดจาก
| ไม้หน้า + ไม้ไต่คู้ |
แอ |
เกิดจาก
| ไม้หน้า + ไม้หน้า |
โ-ะ |
เกิดจาก
| ไม้โอ + วิสรรชนีย์ |
เ-อ |
เกิดจาก
| ไม้หน้า + ตัว อ |
อัว |
เกิดจาก
| ไม้หันอากาศ + ตัว ว |
-ำ |
เกิดจาก
| หยาดน้ำค้าง + ลากข้าง |
เ-า |
เกิดจาก
| ไม้หน้า + ลากข้าง |
สระ ๓ รูปได้ แก่ |
เสียงสระ | เกิดจาก | รูปสระ |
แ-ะ |
เกิดจาก
| ไม้หน้า+ไม้หน้า + วิสรรชนีย์ |
อัวะ |
เกิดจาก
| ไม้หันอากาศ+ ตัว ว + วิสรรชนีย์ |
เ-อะ |
เกิดจาก
| ไม้หน้า + ตัว อ + วิสรรชนีย์ |
เ-าะ |
เกิดจาก
| ไม้หน้า + ลากข้าง + วิสรรชนีย์ |
สระ ๔ รูปได้แก่ |
เอีย |
เกิดจาก
| ไม้หน้า + พินทุ์อิ + ฝนทอง+ตัว ย |
เอือ |
เกิดจาก
| ไม้หน้า + พินทุ์อิ + ฟันหนู+ตัว อ |
สระ ๕ รูปได้แก่ |
เอียะ |
เกิดจาก
| ไม้หน้า + พินทุ์อิ + ฝนทอง+ตัว ย+ วิสรรชนีย์ |
เอือะ |
เกิดจาก
| ไม้หน้า + พินทุ์อิ + ฟันหนู+ตัว อ + วิสรรชนีย์ |
สระมี ๓๒ เสียง
สระเดี่ยว (สระที่เกิดจากการเคลื่อนไหว ของลิ้นและริมฝีปาก เพียงส่วนเดียว) | สระประสม (สระที่เกิดจากการ เคลื่อนไหว ของลิ้นทั้งส่วนหน้า - กลางและหลัง ทำให้รูปริมฝีกปาก เปลี่ยนไป) | สระเกิน (สระที่มีเสียงพยัญชนะ ประสมอยู่) |
๑. อะ | ๑๙.. อัวะ | ๒๕. อำ |
๒. อา | ๒๐. อัว | ๒๖. ใอ |
๓.อิ | ๒๑. เอียะ | ๒๗. ไอ |
๔. อี | ๒๒. เอีย | ๒๘. เอา |
๕. อึ | ๒๓. เอือะ | ๒๙. ฤ |
๖. อือ(เมื่อใช้สระอือ ต้องมี อ ตามหลัง) | ๒๔. เอือ | ๓๐. ฤๅ |
๗.อุ | ๓๑. ฦ | |
๘. อู | ๓๒. ฦา | |
๙. เอะ | ||
๑๐. เอ | ||
๑๑. แอะ | ||
๑๒. แอ | ||
๑๓. โอะ | ||
๑๔. โอ | ||
๑๕. เอาะ | ||
๑๖.ออ | ||
๑๗. เออะ | ||
๑๘. เออ |
สระในรูปแบบต่าง ๆ
รร ( ร หัน) | อ, ว, และ ย | สระลดรูป | สระเปลี่ยนรูป |
รร (ร หัน) ใช้แทน สระอะ ได้ มักพบใน คำที่มาจากภาษาอื่น เช่นภาษาสันสกฤต หรือภาษาเขมร เช่น บรรทม บรรทัด บรรเทา บรรเทิง บรรจบ กรรไกร สรรค์ สรร จำนรรจ์ ครรไล | อ, ว , และ ย เป็นได้ทั้ง สระและ พยัญชนะ เช่น อ เป็นสระเช่น ขอ, มือ, เสือ, เธอ ฯลฯ ว เป็น สระ เช่น กลัว, บัว มั่ว ฯลฯ ย เป็นสระ เช่น เสีย, เพียะ ฯลฯ | บ่ได้ (บ่อ ลดรูป อ) ณ โอกาสนี้ (ณะ ลด วิสรรชนีย์ ะ) นก คน จน ครบ ฯลฯ (ลดรูปสระโ-ะ) ก็ (ลดรูป สระเอาะ) ขืน (ลดตัว อ มาจาก ขือ+น) | สังข์ รัก กัน ลับ (เกิดจาก สะ+ง, ระ+ง กะ+น, ละ+บ เปลี่ยนรูปวิสรรชนีย์ ะ เป็นไม้ผัด หรือไม้หัน อากาศ) เป็ด เห็น แข็ง (ป+เ-ะ+ด เป็ด เปลี่ยนวิสรรชนีย์เป็นไม้ไต่คู้)เดิน (เดอ+น เปลี่ยน อ เป็นพินทุ์อิ) เพชร (เพะ+ช เปลี่ยน วิสรรชนีย์ เป็นไม้ไต่คู้) เห็น (เหะ+น เปลี่ยน วิสรรชนีย์ เป็นไม้ไต่คู้) แข็ง (แขะ+ง เปลี่ยน วิสรรชนีย์เป็นไม้ไต่คู้) |
การวางตำแหน่งสระ
หน้าพยัญชนะ ต้น | หลัง พยัญชนะต้น | หน้า + หลัง พยัญชนะต้น | บน พยัญชนะต้น | หน้า+บน+หลัง พยัญชนะต้น | ล่าง พยัญชนะต้น |
ตัวอย่างเช่น เปล แต่ โธ่ | ตัวอย่างเช่น ตา จ๋า | ตัวอย่างเช่น เขา เตะ เบาะ เลอะเทอะ | ดี ถึง หรือ (บน+หลัง) กลัว (บน+หลัง) | เสีย เกลือ | สู่ คุณ |
........สระไทยใช้หลายท่า พยัญชนะดูแยบยล เกิดพยางค์คำและความ สื่อสารงานทั้งหลาย | ทั้งหลังหน้าใต้และบน วรรณยุกต์ใช้ได้ความหมาย เรียบเรียงตามคิดแยบคาย ลุล่วงดีมีคุณอนันต์ อ.ฐะปะนีย์ นาครทรรพและคณะ |
วรรณยุกต์วรรณยุกต์มี ๔ รูป ๕ เสียง
ประโยชน์ของวรรณยุกต์ช่วยทำให้คำมีความหมายมากขึ้น แตกต่างจาก ภาษาของชาติอื่น ๆ เช่น ปา ป่า ป้า ป๊า ป๋า (เสียงนี้มี ๔ ความหมาย กล่าวคือ ปา หมายถึงขว้างปา ป่า หมายถึงที่มีต้นไม้ภูเขา และสัตว์ ป้า หมายถึงพี่ของพ่อหรือแม่ ป๊าและป๋า หมายถึงพ่อในภาษาบางภาษา) ต่างจากภาษาอังกฤษ ไม่ว่านักเรียนจะออกเสียง dog สูงต่ำอย่างไร ความหมายคงเดิม |
การผันวรรณยุกต์
นักเรียนจะผันวรรณยุกต์ได้ดีหากนักเรียนจำอักษรไทยทั้ง 44 ตัวได้ จำอักษร 3 หมู่
และมีความเข้าใจเรื่องคำเป็นคำตาย นักเรียนสามารถนำความรู้ทั้ง 3 มาเป็นกฏเกณฑ์ ในการผันวรรณยุกต์ได้เป็นอย่างดี จงสังเกตตัวอย่างต่อไปนี้
|
อักษร ๓ หมู่ (ไตรยางค์) | เสียง สามัญ | เสียงเอก | เสียงโท | เสียงตรี | เสียงจัตวา | หมายเหตุ |
อักษรกลาง ก จ ด ฎตฏ บ ป อ คำเป็น คำตาย | ปา | ป่า กัด | ป้า กั้ด | ป๊า กั๊ด | ป๋า กั๋ด | คำเป็นพื้นเสียงเป็น เสียงสามัญ คำตายพื้นเสียงเป็น เสียงเอก |
อักษรสูง ข ฃ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห คำเป็น คำตาย | - - | ข่า ขัด | ข้า ขั้ด | - - | ขา - | คำเป็นพื้นเสียงเป็น เสียงจัตวา คำตายพื้นเสียงเป็น เสียงเอก |
อักษรต่ำ (อักษรที่เหลือ ๒๔ ตัว) คำเป็น คำตายเสียงยาว คำตายเสียงสั้น | คา - - | - - - | ค่า คาด ค่ะ | ค้า ค้าด คะ | - - - | คำเป็นพื้นเสียงเป็น เสียงสามัญ หากผัน ร่วมกับอักษรสูงจะผัน ได้ครบ ๕ เสียง เช่น คา ข่า ค่า(ข้า) ค้า ขา |
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น