วันเสาร์ที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2556

กลุ่มสาระ ภาษาไทย ( พยัญชนะไทย สระไทย วรรณยุกต์ไทย )

พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ในภาษาไทย

พยัญชนะ
พยัญชนะไทยมี 44 รูป สามารถแบ่งตามฐานที่ใช้ในการออกเสียงเป็นวรรค ดังเช่นในภาษาบาลีและสันสกฤต พร้อมแสดงชื่อเรียกในปัจจุบัน




วรรค กะ-ก ไก่ข ไข่ฃ ขวด*ค ควายฅ คน*ฆ ระฆังง งู
วรรค จะ-จ จานฉ ฉิ่งช ช้างซ โซ่ฌ เฌอญ หญิง
วรรค ฏะ-ฎ ชฎาฏ ปฏักฐ ฐานฑ มณโฑฒ ผู้เฒ่าณ เณร
วรรค ตะ-ด เด็กต เต่าถ ถุงท ทหารธ ธงน หนู
วรรค ปะ-บ ใบไม้ป ปลาผ ผึ้งฝ ฝาพ พานฟ ฟันภ สำเภาม ม้า
เศษวรรค-ย ยักษ์ร เรือล ลิงว แหวนศ ศาลาษ ฤๅษีส เสือห หีบฬ จุฬา

* เนื่องจาก ฃ และ ฅ ปัจจุบันไม่พบการใช้งาน จึงอนุโลมใช้ ข และ ค แทนในการสะกด
พยัญชนะไทยยังแบ่งออกเป็น 3 หมู่ เรียกว่า ไตรยางศ์ ประกอบด้วย

สระ

สระในภาษาไทยมี 21 รูป ซึ่งรูปสระเหล่านี้จะนำไปประกอบเป็นรูปสระที่ใช้จริงอีกต่อหนึ่ง
หมายเหตุ : ที่แสดงข้างต้นเป็นสระเดี่ยว สระที่เหลือเป็นสระผสม เช่น เ-ะ ผสมจาก เ และ ะ


วรรณยุกต์

วรรณยุกต์ในภาษาไทยมี 4 รูป 5 เสียง
คำทุกคำในภาษาไทยจะมีเสียงวรรณยุกต์เสมอ แม้ว่าจะไม่มีรูปวรรณยุกต์แสดงให้เห็นก็ตาม


รูปวรรณยุกต์

  •  ่ ไม้เอก
  •  ้ ไม้โท
  •  ๊ ไม้ตรี
  •  ๋ ไม้จัตวา


เสียงวรรณยุกต์

  • เสียงสามัญ
  • เสียงเอก
  • เสียงโท
  • เสียงตรี
  • เสียงจัตวา




เพลง พยัญชนะไทย

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น